หน้าหลัก
ITA
LPA
ประกาศจากระบบ e-GP
ประกาศจากระบบ e-GP ในเครือข่าย
องค์การบริหารส่วนตำบล วังม้า ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายคุกกี้
ยอมรับ
หน้าหลัก
HOME
ข้อมูลหน่วยงาน
GENERAL
บุคลากร
STAFF
การบริหารบุคคล
PERSONNEL
ข่าวสาร
News
แผน
PLANNING
รายงาน
REPORT
ระเบียบ
RULES
บริการประชาชน
SERVICE
 
   
 
 
สถานที่สำคัญ
 
 

วนอุทยานเขาหลวง  (จังหวัด นครสวรรค์)
รูปชุดก่อน รูปชุดถัดไป
คลิกที่ภาพเพื่อขยาย

ลำดับภาพที่ 1/33

ลำดับภาพที่ 2/33

ลำดับภาพที่ 3/33

ลำดับภาพที่ 4/33

ลำดับภาพที่ 5/33

ลำดับภาพที่ 6/33

ลำดับภาพที่ 7/33

ลำดับภาพที่ 8/33

ลำดับภาพที่ 9/33

ลำดับภาพที่ 10/33

ลำดับภาพที่ 11/33

ลำดับภาพที่ 12/33

ลำดับภาพที่ 13/33

ลำดับภาพที่ 14/33

ลำดับภาพที่ 15/33

ลำดับภาพที่ 16/33

ลำดับภาพที่ 17/33

ลำดับภาพที่ 18/33

ลำดับภาพที่ 19/33

ลำดับภาพที่ 20/33

ลำดับภาพที่ 21/33

ลำดับภาพที่ 22/33

ลำดับภาพที่ 23/33

ลำดับภาพที่ 24/33

ลำดับภาพที่ 25/33

ลำดับภาพที่ 26/33

ลำดับภาพที่ 27/33

ลำดับภาพที่ 28/33

ลำดับภาพที่ 29/33

ลำดับภาพที่ 30/33

ลำดับภาพที่ 31/33

ลำดับภาพที่ 32/33

ลำดับภาพที่ 33/33
<<
>>
X
 
ชื่อสถานที่ : วนอุทยานเขาหลวง
 
ที่ตั้ง : ต.วังม้า อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์และจ.อุทัยธานี
 
ข้อมูล : วนอุทยานเขาหลวง
วนอุทยานเขาหลวง อยู่ในท้องที่ตำบลวังม้า อำเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์และจังหวัดอุทัยธานี อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาหลวง มีเนื้อที่ประมาณ 59,375 ไร่ โดยกรมป่าไม้ได้ประกาศจัดตั้งเป็นวนอุทยานเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2539
ลักษณะภูมิประเทศ
เป็นภูเขาสูงชัน ตั้งอยู่โดดเดี่ยวบนพื้นที่ราบทางทิศตะวันตกของจังหวัดนครสวรรค์ มียอดเขาหลวงเป็นยอดเขาสูงสุดสูง 772 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง และยอดเขาเขียวเป็นยอดเขาสูงรองลงมาสูง 762 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง สภาพโดยทั่วไปเป็นภูเขาหินปูน สูงสลับซับซ้อน พื้นที่ส่วนใหญ่มีความลาดชันมากกว่า 35% ป่าบนยอดเขามีความอุดมสมบูรณ์เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิด เป็นแหล่งต้นน้ำลำธารของคลองวังม้าและคลองบางละมุงในเขตจังหวัดนครสวรรค์
พันธุ์ไม้และสัตว์ป่า
ป่าเบญจพรรณ เป็นป่าโปร่งผสมผลัดใบมีไม้ขนาดเล็ก-กลาง มีไม้ไผ่ขึ้นหนาแน่น พันธุ์ไม้ที่พบได้แก่ มะกอก เสี้ยว งิ้วป่า ตะแบก แดง ประดู่ เป็นต้น
ป่าเต็งรัง พบบริเวณเชิงเขาที่สูงไม่มากนัก มีไม้ขนาดเล็กเป็นส่วนใหญ่ มีหญ้าปกคลุมพื้นป่า ไฟไหม้เกือบทุกปี พันธุ์ไม้ที่พบได้แก่ เต็ง รัง ประดู่ พลวง เหียง มะค่าแต้ ไผ่รวก เป็นต้น
ป่าดิบแล้ง พบบริเวณยอดเขา หุบเขา ลำห้วย พื้นป่ารกทึบ ประกอบด้วยไม้พุ่มเถาวัลย์ หวาย กล้วยไม้ พันธุ์ไม้ที่พบได้แก่ ตะเคียนทอง ยางขาว มะไฟป่า ตีนเป็ด สมพง เสลา ยมหิน เป็นต้น
 
 
ผู้เข้าชม 2351 ท่าน         
 
 
 
   
 
สายตรงนายก
087-850-0488
 
  แผนผังเว็บไซต์  
  Version ขั้นต่ำของ Browser IE9 / Firefox 3.5 / Chrome / Safari4 / Opera10